Code | Description | Milling ( M ) | Turning ( T ) | Corollary info |
---|---|---|---|---|
M00 | Compulsory stop | M | T | Non-optional—machine will always stop upon reaching M00 in the program execution. |
M01 | Optional stop | M | T | Machine will only stop at M01 if operator has pushed the optional stop button. |
M02 | End of program | M | T | No return to program top; may or may not reset register values. |
M03 | Spindle on (clockwise rotation) | M | T | The speed of the spindle is determined by the address S, in surface feet per minute. The right-hand rule can be used to determine which direction is clockwise and which direction is counter-clockwise. Right-hand-helix screws moving in the tightening direction (and right-hand-helix flutes spinning in the cutting direction) are defined as moving in the M03 direction, and are labeled "clockwise" by convention. The M03 direction is always M03 regardless of local vantage point and local CW/CCW distinction. |
M04 | Spindle on (counterclockwise rotation) | M | T | See comment above at M03. |
M05 | Spindle stop | M | T | |
M06 | Automatic tool change (ATC) | M | T (some-times) | Many lathes do not use M06 because the T address itself indexes the turret. Programming on any particular machine tool requires knowing which method that machine uses. To understand how the T address works and how it interacts (or not) with M06, one must study the various methods, such as lathe turret programming, ATC fixed tool selection, ATC random memory tool selection, the concept of "next tool waiting", and empty tools. These concepts are taught in textbooks such as Smid,[1] and online multimedia (videos, simulators, etc); the latter are usually paywalled to pay back the costs of their development. They are used in training classes for operators, both on-site and remotely (e.g., Tooling University). |
M07 | Coolant on (mist) | M | T | |
M08 | Coolant on (flood) | M | T | |
M09 | Coolant off | M | T | |
M10 | Pallet clamp on | M | For machining centers with pallet changers | |
M11 | Pallet clamp off | M | For machining centers with pallet changers | |
M13 | Spindle on (clockwise rotation) and coolant on (flood) | M | This one M-code does the work of both M03 and M08. It is not unusual for specific machine models to have such combined commands, which make for shorter, more quickly written programs. | |
M19 | Spindle orientation | M | T | Spindle orientation is more often called within cycles (automatically) or during setup (manually), but it is also available under program control via M19. The abbreviation OSS (oriented spindle stop) may be seen in reference to an oriented stop within cycles. |
M21 | Mirror, X-axis | M | ||
M21 | Tailstock forward | T | ||
M22 | Mirror, Y-axis | M | ||
M22 | Tailstock backward | T | ||
M23 | Mirror OFF | M | ||
M23 | Thread gradual pullout ON | T | ||
M24 | Thread gradual pullout OFF | T | ||
M30 | End of program with return to program top | M | T | |
M41 | Gear select - gear 1 | T | ||
M42 | Gear select - gear 2 | T | ||
M43 | Gear select - gear 3 | T | ||
M44 | Gear select - gear 4 | T | ||
M48 | Feedrate override allowed | M | T | |
M49 | Feedrate override NOT allowed | M | T | This rule is also called (automatically) within tapping cycles or single-point threading cycles, where feed is precisely correlated to speed. Same with spindle speed override and feed hold button. |
M52 | Unload Last tool from spindle | M | T | Also empty spindle. |
M60 | Automatic pallet change (APC) | M | For machining centers with pallet changers | |
M98 | Subprogram call | M | T | Takes an address P to specify which subprogram to call, for example, "M98 P8979" calls subprogram O8979. |
M99 | Subprogram end | M | T | Usually placed at end of subprogram, where it returns execution control to the main program. The default is that control returns to the block following the M98 call in the main program. Return to a different block number can be specified by a P address. M99 can also be used in main program with block skip for endless loop of main program on bar work on lathes (until operator toggles block skip). |
M-CODE (CNC)
การต๊าปเกลียว
1) การใช้ต๊าปด้วยมือ จำเป็นต้องหมุนถอยหลังทุกๆ ½ - 1 รอบ ของการหมุนเดินหน้า เพื่อขจัดเศษจากการตัดและป้องกันต๊าปหักคารู
2) ก่อนทำเกลียวจำเป็นต้องเจาะรูก่อนเสมอ การเจาะรูจะทำขนาดเท่าใด มีวิธีการคำนวนคร่าวๆ คือ ใช้ขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลางเกลียวลบกับระยะพิทซ์ จะได้เป็นขนาดของรูเจาะที่จะได้เนื้อของสันเกลียวเท่ากับ 75% ของความลึกทั้งหมดขนาด 75% นี้เป็นที่นิยมทั่วไป เพราะความแข็งแรงลดลงนิดหน่อย แต่ทำงานสะดวกขึ้นมาก
จากผลการทดลองในอดีตพบว่า เราสามารถลดเปอร์เซ็นต์เนื้อเกลียวให้เหลือ 50% ได้โดยความแข็งแรงยังมีมากพอต่อการใช้งาน และพบว่าสำหรับเกลียวขนาด 6 ม.ม. ถ้าลดเนื้อเกลียวจาก 75% ลงมาเหลือ 50% จะสามารถลดแรงตัดในต๊าปลงได้ถึง 5
เท่าตัว นั่นหมายความว่าประหยัดกำลังได้มาก เพิ่มความเร็วในการทำงานสูงขึ้น หล่อลื่นได้ง่ายกว่า และลดโอกาสต๊าปจะแตกหักลง
2) ก่อนทำเกลียวจำเป็นต้องเจาะรูก่อนเสมอ การเจาะรูจะทำขนาดเท่าใด มีวิธีการคำนวนคร่าวๆ คือ ใช้ขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลางเกลียวลบกับระยะพิทซ์ จะได้เป็นขนาดของรูเจาะที่จะได้เนื้อของสันเกลียวเท่ากับ 75% ของความลึกทั้งหมดขนาด 75% นี้เป็นที่นิยมทั่วไป เพราะความแข็งแรงลดลงนิดหน่อย แต่ทำงานสะดวกขึ้นมาก
จากผลการทดลองในอดีตพบว่า เราสามารถลดเปอร์เซ็นต์เนื้อเกลียวให้เหลือ 50% ได้โดยความแข็งแรงยังมีมากพอต่อการใช้งาน และพบว่าสำหรับเกลียวขนาด 6 ม.ม. ถ้าลดเนื้อเกลียวจาก 75% ลงมาเหลือ 50% จะสามารถลดแรงตัดในต๊าปลงได้ถึง 5
เท่าตัว นั่นหมายความว่าประหยัดกำลังได้มาก เพิ่มความเร็วในการทำงานสูงขึ้น หล่อลื่นได้ง่ายกว่า และลดโอกาสต๊าปจะแตกหักลง
ดังได้อธิบายมาแล้วทั้งหมดจะเห็นได้ว่า วิธีการทำเกลียวจากต๊าปเป็นวิธีที่จำเป็นต้องใช้ฝีมือในการทำงาน มีประสบการ์ และเป็นวิธีรที่ค่อนข้างช้า แต่อย่างไรก็ตามวิธีนี้ยังคงมีความจำเป็นต้องใช้อยู่บ้างเพื่อใช้เป็นความรู้ในการทำงาน
ข้อควรปฏิบัติในการต๊าปเกลียว
1) ขนาดของรูเจาะที่ต้องการทำเกลียวจะถูกต้องตามขนาดของดอกต๊าปนั้นๆ
2) ก่อนทำการตัดเกลียวรูเจาะ ควรผายปากรูที่ขอบของรู เพื่อจะทำให้การเริ่มตัดเกลียวสะดวกยิ่งขึ้น
3) ใช้ดอกต๊าปตามลำดับของคมตัดให้ถูกวิธี
4) ในขณะทำการตัดเกลียวต้องไล่เศษโลหะอยู่เสมอโดยใช้ลมเป่า
G-code list โปรแกรมคำสั่ง G-code
G - CODE ถ้าสำหรับเครื่องจักร CNC ก็คือเครื่องหมายคำสั่งที่อยู่หน้าตัวเลขเพื่อนำคำสั่งนี้ไปสั่งให้เครื่องจักร CNC ทำงานตามที่ต้องการ
G55 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่2
G56 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่3
G57 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่4
G58 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่5
G59 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่6
G61 โหมดหยุดตรง ตำแหน่งExact stop mode
G30 เลื่อน กลับตำแหน่งอ้างอิงที่ 2nd, 3rd and 4th
G40 ยกเลิกคำสั่ง G41 G42
G41 ชดเชยค่ารํศมีของมีด ตัดทางด้านซ้าย(มีดตัดอยู่ด้านซ้ายของทิศทางการเดิน)
G42 ชดเชยค่ารํศมีของมีด ตัดทางด้านขวา(มีดตัดอยู่ด้านขวาของทิศทางการเดิน)
G43 ค่าความยาวของมีดตัด เป็นบวก
G44 ค่าความยาวของมีดตัด เป็นบวก
G45 เพิ่มค่ารัศมีของมีด ตัดTool offset increase
G46 ลดค่ารัศมีของมีด ตัดTool offset decrease
G47 เพิ่มค่ารัศมีของมีด ตัด2เท่า Tool offset double increase
G48 ลดค่ารัศมีของมีด ตัด2เท่า Tool offset double decrease
G49 ยกเลิกค่าความยาวของ มีดตัดTool length
G50 Scaling cancel
G51 Scaling
G52 การตั้งระบบ Local coordinate system setting
G53 เลือกMachine coordinate system selection
G54 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่1
G55 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่2
G56 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่3
G57 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่4
G58 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่5
G59 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่6
G61 โหมดหยุดตรง ตำแหน่งExact stop mode
G62 โหมดเดินมุมAutomatic corner override
G65 เรียกมาโครโปรแกรม Macro call
G67 ยกเลิกคำสั่งมาโคร โปรแกรมMacro modal call cancel
G73 การเจาะแบบ Peck drilling cycle
G74 การทำเกลียวCounter tapping cycle
G76 การคว้านละเอียดFine boring cycle
G80 ยกเลิกคำสั่งCanned cycle cancel
G81 การเจาะDrilling cycle, spot boring cycle
G82 การเจาะDrilling cycle or counter boring cycle
G83 การเจาะPeck drilling cycle
G84 การทำเกลียวTapping cycle
G85 การใช้ดอกรีม เมอร์Boring cycle
G86 การคว้านBoring cycle
G87 การคว้านBack boring cycle
G88 การคว้านBoring cycle
G89 การคว้านBoring cycle
G90 คำสั่งโดยคิดจากจุด อ้างอิงAbsolute command
G91 คำสั่งโดยคิดจากจุดที่ อยู่ครั้งสุดท้าย Increment command
G92 เปลี่ยนระบบ coordinate system or clamp at maximum spindle speed
G94 ฟีดต่อนาที Feed per minute
G95 ฟีดต่อรอบ Feed per rotation
G98 การเลื่อนกลับสู่ ตำแหน่ง Z+ ตัวสุดท้าย
G99 การเลื่อนกลับสู่ ตำแหน่ง R
G55 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่2
G56 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่3
G57 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่4
G58 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่5
G59 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่6
G61 โหมดหยุดตรง ตำแหน่งExact stop mode
G30 เลื่อน กลับตำแหน่งอ้างอิงที่ 2nd, 3rd and 4th
G40 ยกเลิกคำสั่ง G41 G42
G41 ชดเชยค่ารํศมีของมีด ตัดทางด้านซ้าย(มีดตัดอยู่ด้านซ้ายของทิศทางการเดิน)
G42 ชดเชยค่ารํศมีของมีด ตัดทางด้านขวา(มีดตัดอยู่ด้านขวาของทิศทางการเดิน)
G43 ค่าความยาวของมีดตัด เป็นบวก
G44 ค่าความยาวของมีดตัด เป็นบวก
G45 เพิ่มค่ารัศมีของมีด ตัดTool offset increase
G46 ลดค่ารัศมีของมีด ตัดTool offset decrease
G47 เพิ่มค่ารัศมีของมีด ตัด2เท่า Tool offset double increase
G48 ลดค่ารัศมีของมีด ตัด2เท่า Tool offset double decrease
G49 ยกเลิกค่าความยาวของ มีดตัดTool length
G50 Scaling cancel
G51 Scaling
G52 การตั้งระบบ Local coordinate system setting
G53 เลือกMachine coordinate system selection
G54 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่1
G55 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่2
G56 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่3
G57 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่4
G58 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่5
G59 ค่า X0 Y0 Z0 ของงานตัวที่6
G61 โหมดหยุดตรง ตำแหน่งExact stop mode
G62 โหมดเดินมุมAutomatic corner override
G65 เรียกมาโครโปรแกรม Macro call
G67 ยกเลิกคำสั่งมาโคร โปรแกรมMacro modal call cancel
G73 การเจาะแบบ Peck drilling cycle
G74 การทำเกลียวCounter tapping cycle
G76 การคว้านละเอียดFine boring cycle
G80 ยกเลิกคำสั่งCanned cycle cancel
G81 การเจาะDrilling cycle, spot boring cycle
G82 การเจาะDrilling cycle or counter boring cycle
G83 การเจาะPeck drilling cycle
G84 การทำเกลียวTapping cycle
G85 การใช้ดอกรีม เมอร์Boring cycle
G86 การคว้านBoring cycle
G87 การคว้านBack boring cycle
G88 การคว้านBoring cycle
G89 การคว้านBoring cycle
G90 คำสั่งโดยคิดจากจุด อ้างอิงAbsolute command
G91 คำสั่งโดยคิดจากจุดที่ อยู่ครั้งสุดท้าย Increment command
G92 เปลี่ยนระบบ coordinate system or clamp at maximum spindle speed
G94 ฟีดต่อนาที Feed per minute
G95 ฟีดต่อรอบ Feed per rotation
G98 การเลื่อนกลับสู่ ตำแหน่ง Z+ ตัวสุดท้าย
G99 การเลื่อนกลับสู่ ตำแหน่ง R
เครื่องจักรกลอุตสาหกรรม
เครื่องยนต์ไบโอก๊าซ Biogas Engine
เครื่อง Biogas Genset ใช้ได้กับไบโอแก๊สที่ได้มาจาก
- ฟาร์มปศุสัตว์ เช่น ไก่ สุกร เป็นต้น ที่มีบ่อหมักแก๊ซชีวภาพ
- โรงงานอุตสาหกรรม ที่มีบ่อหมักแก๊ซชีวภาพ
- บ่อขยะแบบฝังกลบ (Landfill)
ข้อมูลของ engine
- เครื่องกำเนิดไฟฟ้ารุ่นใหม่ แบบ V จากประเทศเยอรมัน
- อายุการใช้งานของหัวเทียนยาวนาน ถึง 2,000 ชั่วโมง
- เครื่องกำเนิดไฟฟ้าระบายความร้อนด้วยหม้อน้ำ
- เครื่องกำเนิดไฟฟ้าประกอบด้วยเทอร์โบ และอินเตอร์คูลเล่อร์
- เครื่องกำเนิดไฟฟ้าสามารถทำงานได้ทั้ง ระบบขนานการไฟฟ้า และ จ่ายไฟแบบไม่ขนานการไฟฟ้า
- เครื่องกำเนิดไฟฟ้าสามารถรับ One Step Load ได้สูงถึง 40%
- Power Range: 140 kW @ 1500 RPM
- Gas Consumption: 70 m3/hour
- Ignition System from Mototech
- Spark Plug: Low price
- Biogas Genset with V8 Engine
- Power Range: 200 kW @ 1500 RPM
- Consumption: 100 m3/hour
- Ignition System from Mototech
- Spark Plug: Low price
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)